Monday, December 12, 2011

Globalists' Worst Nightmare (Thai)

ฝันร้ายของนายทุนข้ามชาติ
เศรษฐกิจพอเพียงคือคำตอบปัญหาการเมืองทั่วโลก

Globalists' Worst Nightmare: Self-Sufficiency: a universal solution to the globalist problem. (English Version)

บทนำ

ส่วนมากแล้วเมื่อมีปัญหาการเมือง คำตอบคือการชุมนุมกันตามที่ต่างๆ
แต่คราวนี้เราลองทบทวนและสังเกตุบุคคลากรซึ่งชักจูง นำพา และผลลัพธ์ที่ตามมากัน

เช่น การชุมนุมที่วอชิงตันในปี2010 นำโดย นายเกลน เบค(Glenn Beck)เพื่อการ "ชูเกียรติ์ชนคนอเมริกัน" (Restoring Honor) ที่ไร้สาระ และไร้ประโยชน์ที่สุด ซึ่ง ณ บัดนั้นผู้ร่วมร้อยทั้งร้อยมาด้วยความตั้งใจที่ดีจากทุกสารทิศ ซึ่งคนทั้งหมดนี้ มาด้วยพาหนะที่ผลิตโดยบริษัททื่อยู่ในเครือFortune 500(แม็กกาซีนที่จัดอันดับบริษัทในอมเริกา) ระหว่างทางพวกเขาก็แวะปั้มน้ำมัน(Esso,Shell) ที่อยู่ในเครือเดียวกัน ทานอาหาร"ขยะ" (Fastfood)จากร้าน(Mc,KFC)ที่อยู่ในเครือเดียวกัน พักในโรงแรม(Hilton,Marriot)ในเครือเดียวกัน จับจ่ายในห้าง(Tesco,Carrefour) ที่อยู่ในเครือเดียวกัน เวลากระหายก็ดื่มน้ำอัดลม(Coke,Pepsi)ที่อยู่ในครือเดียวกัน พอถึงบ้านก็ดูเคเบิล(UBC) ของบริษัทในเครือเดียวกัน ดูข่าว(ช่อง3,5,7,9,11) ที่ถูกจัดแต่งโดยบริษัทที่อยุ่ในเครือเดียวกัน

จาก ที่เล่ามา เราจะไม่สามารถปฎิวัตระบบได้ตราบใดที่เรายังต้องพึ่งบริษัทในเครือเหล่านี้? อุปมาสิ่งที่เกิดคือการย้ายเงินจากกระเป๋าซ้ายมากระเป๋าขวากับมายาความ รู้สึก"พิเศษ" และตอนสุดท้ายบริษัทใหญ่ๆในคณาธิปไตยก็แบ่งกันรับทรัพย์ไป

ถ้าเรา ตระหนักว่าสิ่งเหล่านี้ไม่ได้เกิดเฉพาะในอเมริกาแต่กับทั่วโลก มันเป็นคณาธิปไตยของบริษัทใหญ่ๆที่พยายามจะกักตุนอำนาจโดยการใช้กฎ'กติกู' และการแทรกแซงอำนาจของรัฐ(น้ำมันปาล์ม,น้ำตาล)ฉะนั้นการชุมนุมของนาย เกลน เบค จึงไม่ใช่แค่ไร้สาระ แต่กลับเป็นการต่อยอดให้กับเครือข่ายเหล่านี้การกระทำที่ถูกควรเน้นไปที่ บริษัทในเครือคณาธิปไตยนื้ไม่ใช่ที่รัฐบาล(ที่ถูกสร้างมาเพื่อเป็นตัวกลาง ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภค)

จากตรงนี้มันจึงสำคัญที่เราต้องรู้ข้อมูลให้ครบก่อน เพื่อจะให้เกิดปฎิวัตอย่างมีหลักการและจุดยืนที่เป็นเอกเทศจากบริษัทในเครือเหล่านี

เข้าใจในการขยายอำนาจข้ามประเทศ

ถึง ณ ตอนนี้การขยายอำนาจของคนกลุ่มนี้เริ่มรุนแรงถึงขั้นดับเครื่องชนเช่นการจัด ฉากการจลาจลที่อียิปต์และตูนีเซีย และสถานการณ์ในลิเบียของกองกำลังผู้ประท้วงพร้อมอาวุธต่อกองกำลังทหารจาก ต่างแดนซึ่งโชว์ห่วยเช่นนี้ เป็นวิธีในการขึ้นสู่อำนาจเฉกเช่นในช่วงปลายปี90ภายใต้ชื่อ'เศรษฐกิจฟองสบู่ 'และ'ไอเอ็มเอฟ(IMF)'(ช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจ)

หลายๆดินแดนตกเป็นเหยื่อ อุบายของไอเอ็มเอฟดังกล่าว ที่มาพร้อมข้อบังคับต่างๆภายใต้ชื่อการ'ปฎิรูป'ซึ่งเป็นโชห่วยของกลุ่ม' ลัทธิครอบครองอาณานิคม(ใหม่)'(Neo-Colonialism) ที่อยู่ภายใต้กระแส'ตลาดเสรี'(economic liberlization) เพื่อช่วยในความเข้าใจตามที่กล่าวมา เราควรเข้าใจกลุ่ม'ลัทธิครอบครองอาณานิคม'(Colonialism)ที่อธิบายโดยภาพล่าง




ภูมิศาษตร์การเมืองรอบประเทศไทยช่วงปี1800-1900 ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวที่คงความเป็นเอกราชในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

ประเทศไทยในช่วงปี1800ณตอนนั้น เป็นเมืองสยาม ซึ่งถูกห้อมล้อมโดยเมืองขึ้นต่างๆ(ตามในภาพ)ของลัทธิดังกล่าว ในที่สุดถูกบีบให้ลงนามในสนธิสัญญาบาวริ่ง(Bowring Treaty)ในปี1855 เดี๋ยวเรามาดูกันว่า ในช่วงเวลานั้นนโยบายและการขอสัมปทานของเขาต่างจากเกณฑ์ของ'ตลาดเสรี'ใน วันนี้ไหม?
1. ให้สิทธินอกอาณาเขตแด่คนอังกฤษในสยาม
2. คนอังกฤษสามารถค้าขายได้อย่างเสรีตามท่าเรือและอยู่อย่างถาวร
3.
คนอังกฤษสามารถเช่าและซื้ออสังหาริมทรัพย์ได้ในกรุงเทพ
4.
คนอังกฤษสามารถเดินทางในสยามได้อย่างเสรีโดยมีบัตรผ่านจากกงสุล
5. ภาษีถูกตั้งไว้ที่3%ยกเว้นฝิ่นและทองแท่ง
6. พ่อค้า
อังกฤษสามารถค้าขายโดยตรงกับคนสยาม


ตัวอย่างที่เห็นง่ายๆ ก็อย่างที่การใช้การทหารเพื่อควบคุมแบบเบ็ดเสร็จที่อิรักกับการแบ่งชาติ อิรักขายของนาย พอล เบรเมอร์ (CFR) ซึ่งพวกฉวยโอกาสก็ได้แต่เฮรับผลประโยชน์จากนัย"การค้าเสรี" ฉันทะดังว่า ประกาศใหัทั้งโลกได้รู้ว่า "มีการเทกระจาดขาย ถ้าเหตุการที่อิรักไปด้วยดี พวกเราก็จะมีประเทศแห่งฝันของพวกทุนสามานท์กัน"

1.สามารถเป็นเจ้าของอสังหาริมทรัพย์ในอิรักได้100%
2.สามารถส่งกำไรกลับภูมิลำเนาได้
3.มีสิทธิเทียบเท่ากับบริษัทในประเทศ
4.ธนาคารต่างประเทศสามารถดำเนินกิจการและซื้อหุ้นส่วนของกิจการในประเทศได้
5.ภาษีรายได้และพาณิชย์ถูกตั้งไว้ที่15%
6.ภาษีศุลกากรถูกตั้งไว้ที่5%

อ่านเพิ่มได้ที่นี่

น้อยคนที่จะไม่เห็นความคล้ายของอุบายเก่าๆในการใช้ยึดอาณานิคมที่ ใช้โดยไอเอ็มเอฟช่วงปี90ช่วงตลาดล่ม ซึ่งเจ้าตัวเองก็พยายามจะเน้นจุดยืนเรื่องความจำเป็นของเศรษฐกิจเสรี

ที่ แน่ๆคือการสยบให้กับการเมืองเดิมๆที่ใช้จุดยืนเดียวกันภายใต้นัย ของ"เสรี" เคนเนธ พอลแลค แห่ง สถาบันบรู๊กคลิน ได้พูดว่าความยุ่งยากที่ตะวันออกกลางเป็นตัวบ่งชี้ให้เห็นว่าประเทศนั้นๆ เดินมาถูกทางหรือไม่ โดยว่าประเทศนั้นจะยอมจำนน เรื่องของ การค้าเสรี การปฏิรูปการศึกษา อธิปไตย กฏหมู่มาก หรือจะเป็นเอกเทศ"

ไม่นานสยามก็เริ่มถอนสัญญาบราวนิ่งปี1855จนถึงตอนนี้ ที่ทางทุนสามานท์ไอเอ็มเอฟได้พยายามใช้สัญญานี้อีก

ทุนสามานท์ในเมืองไทย

คำ ตอบของประเทศไทยกับทุนสามานท์ และไอเอ็มเอฟ อยู่ในวิถีชีวิตแบบประมาณตน ซึ่งเป็นคำตอบสุดท้ายของสงครามระหว่างอำนาจเงินกับความเป็นอยู่ ความเป็นเอกเทศ และ ความรักชาติ และเป็นประเทศเดียวที่ไม่ได้เป็นเมืองขึ้นของใครโดยการปกครองของราชวงศ์ เป็นเวลาถึง800ปี ซึ่งราชวงศ์ต้นแบบเองก็มีประวัติ์ยาวเท่ากับประเทศอเมริกา และนายหลวงของเราองค์ปจุบันเองก็ถือให้เป็นตัวแทนเจ้าแผ่นดินและคำสอน
ที่มาจากความรักและห่วงใยที่พ่อหลวงได้ชี้แนะให้ประชาชนของท่านหมั่นปฏิบัตินั้น........

..........คำตอบก็คือเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียงในสถานะประเทศ ในสถานะจังหวัด ในสถานะชุมชน ในสถานะครอบครัว ซึ่งผู้ริเริ่มไม่ใช้ใครแต่เป็นพ่อหลวงซึ่งมีอีกหลายคนบนโลกที่เห็นเหมือน กันโดยเน้นการเป็นเอกเทศจากทุนสามานท์




ภาพของเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ประโยชน์จากธรรมชาติซึ่งไม่เบียดเบียนใครและเป็นเนื้อแท้ของการเป็นเอกเทศ

เศรษฐกิจ พอเพียงเริ่มง่ายๆจากการปลูกเองทำเองและมีพอกิน ดังเช่นภาพของชาวนาข้างหลังแบงค์พันบาทโดยของเหลือก็สามารถนำไปขาย เพื่อนำรายได้ไปใช้ในการงานหรือทำให้ชีวิตดีขึ้นได้




แบงค์ราคาพันบาทของไทยที่มี เขื่อนอยู่ด้านซ้าย พระเจ้าอยู่หัวอยู่ตรงกลาง และชาวนาด้านขวา

ทฦษฎีใหม่นี้เน้นการทำประโยชน์จากผืนดิน ซึ่งช่วยเตือนไม่ให้ชาวนาหนีนาเข้ากรุงเพราะจะก่อปัญหาทุนสามานท์กว่านซื้อ ที่ดิน และที่นาซึ่งนำไปสู่ปัญหาระดับชาติ ซึ้งผู้ที่รู้จะไม่ทำ

เพื่อที่จะได้มาซึ้งความเจริญและชีวิตศิวิไลส์ ผู้คนจะยอมจำนน ทรัพย์สิน จุดมุ่งหมาย และทำงานที่ไม่ทำประโยชน์อย่างแท้จริงต่อส่วนรวม และเริ่มหันเข้าสู่วิถีชีวิต"คนเมือง" และบทของผู้บริโภค ภายใต้ระบบนี้วิธีแก้ปัญหา ประชากรล้นเมือง อากาศเป็นพิษ อาชญากร และเงินเฟ้อ ก็เป็นแค่การหลอกให้ดีใจเล่นเช่
VAT7%, ประกันสังคม30บาท, ค่าจ้างขั้นต่ำ 15000บาท และอีกหลายๆโครงการ ที่ไม่มีประโยชน์โดยแท้จริง




นอกจากนี้ปัญหาที่มาจากอำนาจรัฐเกินขอบเขต เช่นการดูแลไม่ทั้วถึงและการค้นประวัติ ซึ่งนำไปสู่การริดรอนสิทธิส่วนบุคคล และสิทธิเสรีของคนๆนั้น โดยการให้เศรษฐกิจเป็นตัวกำหนดค่าของประเทศและประชากร



ภาพแสดงถึงผู้คนเข้าเมืองเพราะความโลภเพื่อเจอกับชีวิตสิวิไลซ์ดัง อาเจนด้า21


ภายใต้ทฦษดีใหม่ นี้ ได้มีการกระจายโครงการ"สาทิต " เพื่อให้ความรู้ด้านการเกษตรและการดำรงชีพ โครงการเช่นนี้เป็นที่ยอมรับอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในประเทศที่ประสพปัญหาเศรษฐกิจ และด้วยปรัชญาของพ่อหลวงทำให้ประเทศไทยได้ผ่านวิกฦตเศรษฐกิจได้ด้วยดี ตรงนี้สวมารถดูได้จากราคาข้าวแกงที่ไม่แตกต่างจาก10ปีก่อนมากนัก และตรงนี้เป็นบทพิสูจน์ว่าการดำรงชีพของคนไทยส่วนมากยึดหลักศรฐกิจพอเพียง ฉันท์ใดฉันท์นั้นหลักความพอเพียงเริ่มเป็นที่ยอมรับในทุกชนชั้นและในนานาประเทศ ทำให้ถึงเวลาแล้วที่เราทุกคนควรเปิดรับและปฏิบัติตามปรัชญาของพ่อหลวงเรานี้

การเค้นของทุนสามานท์

ด้วย ปรัชญาที่ริเริ่มโดยพ่อหลวง ที่เป็นที่ยอมรับทั่วทุกสารทิศและปฏิบัติกันทั่วหน้าทำให้คนไทยส่วนมากดำรง ชีพอย่างมีสติ ซึ่งทำให้ทุนสามานท์ไม่สามารถเข้าถึงได้และที่น่า่ตกใจที่สุดคือการสวมรอย โดยนักวิชาการ ที่กล่าวว่าปรัชญานี้คือการปรุงแต่งจาก"คิดให ม่ทำใหม่"ของ นช.ทักษิณที่นักวิชาการชักนำว่า เป็นการตั้งหลักสู่การปกครองระบบเสรีที่มีมาตลอด โดยมองข้ามความสำคัญของปรัชญาของพ่อหลวงและผลลัพย์ของการปฏิบัต และหนำซ้ำยังโวอีกว่าผลลัพย์ที่ได้มาก็ไม่ต่างจากวิธีของเขาเลย หนำซ้ำนักวิชาโกงเหล่า่นี้ก็โวด้วยว่าปรัชญานี้เป็นการปรุงแต่งจากการคิดของ พวกเขา

นักวิชาโกงเหล่านี้ยังพยายามหาว่าการดำรงชีพอย่างพอเพียงมาจาก นช.ทักษิณ และควรช่วยให้เขากลับมาโกงชาติอีก

โปรดตระหนักว่าสังคมนิยมกับปรัชญาพอเพียงนั้น ต่างกันโดยสิ้นเชิง สังคมนิยมนั้นเน้นการพึ่งจากรัฐซึ้งได้มาดูแลแค่ที่ปลายเหตุ ไม่ได้ทำให้ชาวนามีกินมากขึ้น หรือคิดค้นเทคโนโลยีช่วยให้ชาวนาสบายขึ้น แต่กลับเป็นการใช้วิธีเก่าๆตามที่บันทึกมา มันเป็นการแจกจ่ายทรัพยากรของประเทศเพื่อช่วยบรรเทาความเป็นอยู่ ซึ่งระบบสังคมนิยมเป็นแค่ตัวเลือกชั่วคราวระหว่างคำตอบที่จะมาจากความก้าว หน้าทางเทคโนโลยีและปัญหาความเป็นอยู่ที่เห็นๆกันอยู่จะประจบกันด้วยดี ระหว่างนั้นการบริหารแบบทุนสามานท์ก็
ทำได้แค่ให้ประชาชนต้องพึ่งรัฐ รัฐต้องพึ่งสภา สภาต้องพึ่งนายก และนายกจะไปรู้อะไรเกี่ยวกับประชาชน? ฉะนั้นระบบนี้ได้แต่สร้างปัญหา ไม่ได้ช่วยแก้เลย

อีกมุมมองหนึ่งที่มาจากนาย แอนดริว วอร์คเกอร์ แห่งมหาลัยออสเตรเลียที่ใช้ประเด็นว่า"แมนดาล่าคนใหม่" ที่มีหน้าที่คอยซ่อนนัยของทุนสามานท์ที่มีคนดังอย่างนาย โรเบิร์ท อัมสเตอร์ดัม ร่วมด้วย

โดยนาย วอร์คเกอร์สรุปรายงานของเขาจากการที่ได้อยู่
างตอนเหนือของประเทศไทยที่"บ้านเตียน" ที่แย้งปรัชญาพอเพียงภายใต้หัวข้อ "ความเข้าใจผิดในการเป็นอยู่ของคนชนบท " ซ้ำยังบอกอีกว่า ปรัชญาพอเพียงไม่เพียงพอในการแก้ปัญหา และทำให้บุคคลากรเสียโอกาส

แต่สำหรับนักวิชาโกงกลับชี้นำว่ามันทำให้ผู้คนดำรงชีพได้ โดยไม่ต้องจากภูมิลำเนาทำให้ไม่ต้องพึ่งรัฐ และไม่ต้องตกอยู่ใต้อำนาจของทุนสามานท์

แต่สำหรับคนอย่างนาย แอนดริว ที่นิยามของความพอเพียงคือการทำงานสบายๆในอ๊อฟฟิสแล้วก็กลับบ้านไปนอนบนโซฟา หรูดูทีวีจอแบน ซึ่งในความเป็นจริงแล้วผลผลิตควรมาจากธรรมชาติ และความเข้าใจในวิทยาสาตร์และเทคโนโลยีที่สามารถทำประโยชน์ให้กับเพื่อนม นุษณ์อย่างแท้จริงน่าจะตรงโจทย์และดีที่สุด

นอกจาก"เดอะอีคอนอมิสต์" และ"แอนดริว วอร์คเกอร์" แล้วทางทุนสามานท์ก็พยายามสร้างกระแสผ่านกลุ่มคนเสื้อแดงโดยมีนาย ใจ อึ้งพากร ที่ได้เขียนเองเออเองว่าความพอเพียงคือการที่ประเทศไทยจะต้องเปลี่ยนเป็น สังคมนิยมซึ่ง
ดูแลโดยรัฐ

บทความต่างๆของนาย ใจ อึ้งพากร ท่านสามารถอ่านได้ที่"socialist worker online" ซึ้งหลายๆโฆณาชวนเชื่อของเสื้อแดงก็มาจากที่นี้เหมือนกัน

เราควร ทราบด้วยว่าหัวหน้าของพวกเสื้อแดงคือ นช.ทักษิณ ที่กำลังจะขายชาติให้กับกลุ่มคาร์ลไลล์ในปี2006 ซึ่งหลังจากที่พ้นเก้าอี้นายกนาย เจมส์ เบเกอร์ จากสำนักงานทนายเบเกอร์
บอทท์ นาย เคเนธ เอเดลแมน จากสำนักโฆษณาเอเดลแมน นาย โรเบิร์ต แบล็ควิล จากบาโบกริฟฟิทแอนโรเจอร์ และนาย โรเบิร์ต อัมสเตอร์ดัม จากอัมสดัมแอนด์แพรอฟที่เป็นสมาชิกของกลุ่มทุนสามานท์ แชตตัมเฮาส์ ก็กรูกันออกมาเสนอหน้าร่วมด้วยช่วยกัน

การที่จะพูดว่า นช.ทักษิณ และกลุ่มคนเสื้อแดงรับเงินช่วยจากต่างประเทศมันยังแค่จิ๊บๆ

ถึงแม้ตัวพ่อจะไม่อยู่แต่กลุ่มตัวแทนเสื้อแดงก็ยังขยับขยายจากการสนับสนุนของกลุ่ม "เรียกร้องสิทธิมนุษย์เสรีชน"(NGO) ที่ให้ทุนกับ"Prachatai" ซึ่งเป็นตัวเชื่อมพวกเสื้อแดงกับการเคลื่อนไหวในสภา ซึ้งก็ไม่วายที่จะต้องขอตะแบงด้วยรางวัลโชห่วย"Deutche welle blog awards" ที่นาย เอเดลแมนนั้งเก้าอี้เป็นคณะกรรมการอยู่




การ ได้ทวีท(TWITTER)เพื่อเปิดตัวPrachataiซึ่งได้รับการยอมรับจากกลุ่มคนเสื้อ แดงและเป็นเครือค่ายของกลุ่ม"เรียกร้องสิทธิมนุษน์เสรีชน" เพื่อใช้ในการซ่อนนัยของกลุ่มทุนสามานท์ที่ต้องการลดประชากรโลกอย่างอำมหิต

กลุ่ม ทุ่นสามานท์เมื่อเห็นโอกาสก็รีบตักตวงระหว่างที่คนส่วนมากยังตีโจษท์ไม่ออก เพราะประเทศไทยและอีกหลายๆประเทศถูกจัดฉากโดยกลุ่มทุนสามานท์ หนทางเดียวที่เราจะชนกับมันได้คือใช้วิธีเดียวกันกับมันผ่านประชานิยม

อ่านเพิ่มได้ที่นี่

เพื่อวันนี้และวันข้างหน้า

มันจึงไม่แปลกที่คนไทยจะประยุกต์ความรู้ด้านเกษตรกรรมและเทคโนโลยีเข้าด้วย กันเพื่ออนาคตที่ดีขึ้น ซึ่งในเมืองก็ด้วยกับกิจการเล็กๆที่เริ่มมีการพัฒนาทั้งด้านการผลิตและการ ขยายผลกำไรซึ่งในบางทีอาจแซงบริษัทใหญ่ๆด้วยซ้ำ หลายๆกิจการเดี๋ยวนี้ใช้คอมพิวเตอร์ดูแลในหลายๆจุดดังเช่นเครื่องเย็บผ้า สมัยใหม่ที่ช่วยให้การทำตามออร์เดอร์ง่ายขึ้น โดยไม่ต้องไปพึ่งโรงงานของบริษัทใหญ่ๆที่เป็นเครือข่ายของกลุ่มทุนสามานท์



ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ จากเอ็มไอทีและ"แฟบแล็บ "ของเขา ที่ซึ้งเขาคิดค้นนวตกรรมต่างๆขึ้น

การที่จะนำความรู้ทางวิทยาสาตร์มาสู่คนท้องถิ่นใครว่าเป็นไปไม่ได้ ศาสตราจาร์ณ
ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ ได้สร้าง"ห้องทดลองประดิษฐ์ " หรือ"แฟบแล็บ" ที่มีศักยภาพเทียบเท่าโรงงานเล็กๆได้เลย "แฟบแล็บ"ของเขาได้ถูกจำลองใช้อย่างแพร่หลายและจะเป็นตัวการเริ่มที่ผู้บริโภคจะเปลี่ยนสถานะเป็นผู้ออกแบบและผู้ผลิตแทนแต่ที่จะบริโภคเท่านั้น



ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ กล่าวเกี่ยวกับ"แฟบแล็บ"ที่ทีอีดี




ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ ได้กล่าวด้วยว่าปัญหาหลักๆมาจากรัฐและสถาบันใหญ่ๆ ทั้งๆที่คนส่วนมากตื่นเต้นกับนวตกรรมนี้ "แต่มันก็ขัดกับหลักของบริษัทที่สอนให้บุคคลากรเป็นแต่บริโภคเทคโนโลยีแทนที่จะสอนให้คนมีความคิดสร้างสรรและกล้าที่จะทำ"

ตรง นี้ใช่แต่ว่าจะมีแต่คนมองในแง่ดี พวกบ้าอำนาจกลับมองว่ามันถอนอำนาจพวกเขาและเผยให้เห็นนัยแท้ของพวกเขา โดยทุกอย่างที่กล่าวไปนี้ถูกจารึกไว้ตั้งแต่ปี300บีซี ภายใต้รัฐธรรมนูญของชาว เอทีเนียน ที่มีการกล่าวถึงหนึ่งในพวกบ้าอำนาจที่ไม่พอใจที่รัฐได้กระจายอำนาจเพื่อการ เป็นอยู่ของส่วนรวม

ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ ยัง ได้กล่าวอีกว่าสิ่งประดิษฐ์ของเขาสามารถเปลี่ยนสถานะของคนอีน5000ล้านให้มา เป็นผู้บุกเบิกและประยุกต์ เพื่อให้เหมาะกับสภาพของทรัพย์ยากรของประเทศนั้นๆ แต่ก่อนเขาเคยคิดว่าต้องใช้เวลาถึง20ปีแต่ยอดของ"แฟบแล็บ"ทำให้เขาเริ่มคิดใหม่



ภายในของ"แฟบแล็บ" ที่แอมสเตอร์แดมกับหลากหลายเครื่อง"ผลิต"ที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ

คำใบ้ที่ด๊อกเตอร์ นีล เกรชเช่นเฟลด์ พยายามจะสื่อก็เป็นจุดใต้ตำตอของวัฒนธรรมแห่งความพอเพียงของคนไทยอยู่แล้ว ซึ่งสืบต่อมาถึงวิธีการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพที่ทำให้กลุ่มกิจการเล็กๆ สามารถเอาชนะบริษัทใหญ่ๆได้ ซึ่งเกิดเป็นแรงบันดาลใจและกำลังใจในสิ่งประดิษฐ์ของเขา ที่มีศักยภาพในการเปลี่ยนแปลงโลกได้ แต่สิ่งที่ยากกว่าคือการเปลี่ยนการมองแบบเก่าๆที่ประยุกต์เข้ากับเทคโนโลยี ใหม่ๆซึ่งเริ่มปฏิบัติกันแล้วในหลายๆแห่ง

ความพอเพียงเป็นนิยามที่ พวกทุนสามานท์ขยาดกันมาแต่นมนาน ซึ่งเราควรหันมาใช้ประโยชน์จากคนใกล้ตัวและคนรอบข้างที่มีความสามารถแทนที่ จะมักง่ายอุตหนุนเครือข่ายทุนสามานท์ ด้วยนวตกรรม"
แฟบแล็บ"และ ด้วยอุตสาหะที่เราทั้งหลายอยากจะช่วยสังคม ประเทศและชาติและเพื่ออนาคตที่ดีขึ้นจะทำให้เกิดการเปลี่ยนความคิดโดยปริยาย ณ ตอนนี้พวกเราได้มีสื่อที่ไม่พูดเท็จอแล้วควรถึงเวลาแล้วที่พวกเราจะ ต่อยอดด้วยการเป็นเอกเทศจากรัฐและทุนสามานท์ เพื่อประโยชน์ของส่วนรวมและควรเริ่มทำเป็นกิจวัตรตั้งแต่วันนี้